แผ่นดินตรงที่ตั้งกรุงศรีอยุธยาแต่เดิมมาไม่ได้เป็นเกาะ เป็น แหลมยื่นออกไปทางทิศตะวันตก ด้านเหนือ ด้านใต้ ด้านตะวันตกของ แหลมนี้ จรดแม่นํ้าเจ้าพระยาสายเดิม ซึ่งไหลลงทางบางแก้ว ท้ายเมือง อ่างทองมาทางบ้านโพธี้สามด้น ลงทางหน้าวัดแม่นางปลื้ม ผ่านด้าน เหนือพระราชวัง ออกบรรจบแม่นํ้าน้อยที่หัวแหลม ลงทางหน้าป้อมเพชร เป็นแหลมมืแม่นํ้าล้อมสามด้าน เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดิพระองค์ที่ (อู่ทอง) สร้างกรุง จึงให้ขุดคูด้านตะวันออกตั้งแต่รีมแม่นํ้าที่หัวรอหน้า ป้อมมหาไชย ลงไปบรรจบแม่นํ้าหน้าป้อมเพชร เรียกว่าซึ่อหน้า แต่นั้น มาพระนครศรีอยุธยาจึงเป็นเกาะมืนํ้าล้อมรอบ...จากนั้นพระเจ้าอยู่หัวแต่ละพระองค์ที่ทรงครองกรุงศรีอยุธยาก็ ทรงช่วยกันขุดคลอง ท่านละคลองสองคลอง แต่ต้องยอมรับท่านว่า ท่าน ทรงวางผังเมืองและสืบสานกันต่อๆ มาอย่างสมํ่าเสมอ จนกรุงศรีอยุธยา ถูกแบ่งเป็นตาราง (โบราณท่านว่าเป็นจัตุรัส) ด้วยคลองที่คู่ขนานกัน และตัดกันจนเกือบจะเป็น หรือเป็นมุมฉาก เพราะอยุธยาเป็นที่ลุ่มนํ้า ท่าน เลยขุดคลองให้นํ้าที่หลากมาจากเหนือนั้นลงไปอยู่ในคลองเสิย อยุธยาแต่ ก่อนนั้นทุกบ้านโดยเฉพาะข้าราชการต้องมีสวน นํ้า,ในคลองกืไปเลี้ยงผล หมากรากไม้ในสวน บ้านใครคลองไม่ถึงก็ขุดคูต่อจากคลองเข้าไปในสวน อย่างบ้านขุนรามเดซะ ที่อยู่ใกล้คลองฉะไกรใหญ่ (ปัจจุบันเรียกคลองท่อ) ท่านก็ขุดคู เข้าไปในสวนหลังบ้านท่าน คูนี้เองที่กลายเป็นหนทางให้เสมา ใช้เป็นทางลัดตัดตรงขึ้นห้องแม่เรไรบรรพซนในสมัยอยุธยาท่านฉลาด ที่ใข้คลองเป็นทางลัญจรด้วย เพราะท่านไม่มืรถ คลองจึงเกิดประโยซน์เป็นเอนกประการสองข้าง พระราซวังหลวง ท่านขุดคลองจากเหนือลงใต้ ขนานกันสองคลองคือ คลอง ฉะไกรใหญ่ (พอลงมาทางใต้เรียก คลองท่อ เดี๋ยวนี้ก็ดูถนนคลองท่อตาม แนวนั้น) อยู่แนวกำแพงต้านตะวันตก คลองฉะไกรน้อยอยู่ต้านตะวันออก (ตามแนวถนนปาตองหรือศรีสรรเพซร) ทั้งสองปลายคลองทะลุออก แม่นํ้ารอบกรุง จึงเป็นคลองยุทธศาสตร์อีกประการหนี้ง จากนั้นท่านตัด คลองขนานกับสองคลองนี้ เฉือนอยุธยาออกเป็นบั้งๆ เหมือนเราบั้งปลา จะทอด แล้วขุดคูตัดเชื่อมระหว่างกันอีกจนเป็นตารางหรือจัตุรัสตังกล่าวในเรื่องขุนดิกมีหลายฉากที่ตัวละครใช้ทางสํญ่จรทางนั้า ผมจึง จำเป็นต้องกราบเรียนท่านไว้ และตามแนวรีมคลองก็เป็นย่านบ้าน เป็น ตลาด คนเอาของมาขายก็มาทางนํ้า เครื่องดักฟังน้ำหนักเบา เบาแรงในการขนส่ง ซึ่งสมัยนั้นมี แต่เดิน ยกเว้นแต่ช้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ไปราขการ จึงนั่งเสลี่ยงคานหาม มองในมโนภาพแล้วเป็นดินแดนในฝืนของคนหลายคนทีเดียวโดยเฉพาะ นักสิงแวดล้อมส่วนทางบกนั้นก็มี ถนนหลวง หลายสายเหมือนกัน แล้วก็มีทาง รู้สิกว่าถ้าเป็นถนนจะกว้าง พูนดินขึ้นสูง บางแห่งก็ปูอิฐตะแคง ความกว้าง ก็มีตั้งแต่ สองวา, สามวา สำหรับมีการใหญ่ เซ่น เป็นถนนหลวงสำหรับ การเดินทัพ เวลาไปส่งทัพ หรือรับกองทัพ หรืองานพระราชพิธีต่างๆ จะ กล่าวถึงถนนนี้ ท่านบอกว่า«๓๒) ถนนสายนี้เป็นถนนใหญ่ตรงไปจากหน้าพระราชวัง ไปหัก % เลี้ยวที่มุมกำแพงพระราชวังด้านใต้หน่อยหนึ่ง แล้วเลี้ยวซ้ายตรงไปทาง ใต้ถึงประตูไชย ดักฟังไร้สาย 'ซึ่งอยู่ริมแม่นั้าต้านใต้ (สุดถนนศรีสรรเพชร/ผู้เขียน)...แลในพระนครยังมีถนนริถนนขวางอีกหลายสาย ถนนเหล่านั้นพูนดิน ขึ้นเหมือนทางรถไฟ ตอนที่ดอนก็สูงราว ๓ ศอก ที่ลุ่มก็สูงตั้ง ศอก หรือ กว่าก็มี กว้างราว ๒ วาบ้าง ๓ วาบ้าง กว่าบ้าง กลางปอีฐตะแคง
เครื่องดักฟัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น